วันอังคารที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2558

บทที่ 3 E-business strategy

บทที่ 3

E-business strategy


ความหมายของ Strategy
              การกําหนดทิศทาง และ แนวทางในการปฏิบัติ ในอนาคต ขององค์กร เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กรที่ได้วางไว

ความหมายของ E-Strategy
             วิธีการที่จะทําให้กลยุทธ์ขององค์กรบรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ โดยการนําการสื่อสารผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์มาใช้งาน ทั้งการสื่อสารภายในองค์กร และ การสื่อสารภายนอกองค์กร

Business Strategy
               คือ กลยุทธ์ที่จะเชื่อมให้แบบจําลองทางธุรกิจ เป็นจริงได้ทํายังไงให้การสร้าง มูลค่า นั้นเป็นจริงได้ แล้วทํายังไงที่จะส่ง มูลค่า นั้นให้กับลูกค้าได้ดีที่สุดแต่เป็นการสร้างธุรกิจที่มีความแตกต่าง อย่างไรก็ตามในเรื่องนี้จะพูดถึงตัวแบบขั้นตอนกลยุทธ์หลักในการทําธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ ทั้ง 4 ขั้นตอนดังนี้
-Strategic evaluation : กลยุทธ์การประเมิน
-Strategic objectives : กลยุทธ์การวางแผนวัตถุประสงค์
-Strategy definition : กลยุทธ์การกําหนดนิยาม
-Strategy implementation : กลยุทธ์การดําเนินงาน

กลยุทธ์ของธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ (E-Business Strategies)
              กลยุทธ์ เป็นตัวกําหนดทิศทางและการดําเนินงาน ด้านต่างๆ ขององค์กร กลยุทธ์เป็นเสมือนกับเหตุผลและความมุ่งหมายขององค์กรองค์ประกอบที่สําคัญของกลยุทธ์ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ คือ การสร้างช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ใหม่ให้กับองค์กร กลยุทธ์ช่องทางอิเล็กทรอนิกส์จะช่วยในการกําหนดเป้าหมายที่ชัดเจนหรือเหมาะสม



Different forms of organizational strategy


Relationship between e-business strategy and other strategies



E-channel strategies
                E-Channel ย่อมาจาก electronic channels คือ การสร้างช่องทางใหม่ๆ ในการกระจายสินค้า ทั้งจากลูกค้า และคู่ค้า โดยที่ช่องทางอิเล็กทรอนิกส์

แผนกลยุทธ์
แผนกลยุทธ์(Strategic Plan )คือ
   -เอกสารที่ระบุวิสัยทัศน์ ภารกิจ และกลยุทธ์ต่างๆ
   -เป็นแผนระยะยาวที่บ่งบอกทิศทางการดำเนินขององค์กร
   -เป็นแผนที่จัดทำขึ้นจากการวิเคราะห์สภาพภายนอก

กรณีศึกษา บทที่ 3

กรณีศึกษา บทที่ 3

ภาพรวมองค์กร

                         บริษัท เสริมสุข จำกัด (มหาชน) ประกอบธุรกิจเครื่องดื่ม โดยเป็นทั้งผู้ผลิตและจัด จำหน่าย หรือ เป็นเพียงผู้จัดจ ำหน่ายเพียงอย่างเดียว และยังมีบริษัทในเครือคือ บริษัท เสริม สุข เบเวอร์เรจ จำกัด (บริษัทย่อยทางอ้อม) ดำเนินธุรกิจ เป็นผู้ผลิตและรับจ้างผลิตเครื่องดื่ม ชาลิปตัน เครื่องดื่มเกเตอเรด และน้ าผลไม้ทรอปิคานา ทวิสเตอร์ และจำหน่ายให้บริษัทเสริม สุข จ ากัด (มหาชน) เป็นผู้จัดจำหน่ายโดยตรงหรือจ าหน่ายให้บริษัท เป๊ปซี่-โคล่า (ไทย) เทรด ดิ้ง จำกัด ซึ่งจะจำหน่ายต่อให้บริษัทเสริมสุข จ ากัด (มหาชน) เป็นผู้จัดจ าหน่ายให้อีกต่อหนึ่ง ปัจจุบันหุ้นของบริษัท เสริมสุข เบเวอร์เรจ จำกัด (ร้อยละ 99.99) ถือโดยบริษัท เสริมสุข โฮล ดิ้งส์ จำกัด (บริษัทย่อยทางตรง) ซึ่งจัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2549 โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อถือหุ้น และบริหารการลงทุนของบริษัทในเครือของเสริมสุข นอกจากนี้ บริษัท เสริมสุข จ ากัด (มหาชน) ยังถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 40 ในบริษัท เพ็ทฟอร์ม (ไทยแลนด์) จ ากัด ซึ่งเป็นผู้ผลิตและจ าหน่ายหลอดพลาสติกเพื่อใช้ในการผลิตขวดพี อีที ขวดพีอีทีและฝาพลาสติก

วิสัยทัศน์ (Vision) 

บริษัท เสริมสุข จำกัด (มหาชน) คือ บริษัทผู้ผลิตและจำหน่ายเครื่องดื่มครบวงจรรายแรก ที่นำความสดชื่นมาสู่ผู้บริโภคชาวไทยทั่วประเทศ และในการที่จะรักษาไว้ซึ่งความเป็นผู้นำอัน แข็งแกร่งในตลาดเครื่องดื่ม บริษัทฯ จึงได้วางนโยบายและการดำเนินงานตามที่กำหนดไว้ดังนี้

-  มุ่งเน้นให้ผู้บริโภคได้รับประโยชน์สูงสุด โดยการให้บริการผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพดีที่สุด
-  มองหาโอกาสในการเจาะตลาดและสถานที่ในการจัดจำหน่ายใหม่ ๆ อย่างสม่ำเสมอ 2
-  พัฒนาระบบปฏิบัติการ องค์กร และบุคลากรทุกคนให้มีประสิทธิภาพสูงสุด พัฒนาเครือข่ายความร่วมมือระหว่างผู้ผลิตและตัวแทนผู้จัดจำหน่ายอย่างเต็มที่ เนื่องจากความสำเร็จนั้น เกิดจากระบบการจัดการที่ยอดเยี่ยมของผู้จัดจำหน่ายเป็นหลัก

แผนกลยุทธ์

อธิบายรายละเอียดได้ดังนี้
1. ดวงดาว (Star) แสดงว่าฐานะหรือต้าแหน่งของ SBU เป็นผู้น้าในตลาดมีส่วนครอง ตลาดสูง (high market share)อยู่ในอุตสาหกรรมซึ่งก้าลังขยายตัวสูง (high growth) ซึ่งแสดงให้เห็นว่า SBU นั้นจะสามารถท้าก้าไรได้มาก จึงควรก้าหนด เป้าหมายที่จะรักษาจุดเด่น เหนือคู่แข่งขัน (differential advantage) ของบริษัท เอาไว้เป็นประการส้าคัญ เพื่อเผชิญกับคู่แข่งซึ่งก้าลังจะเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว
2. โคนม (Cash cow) แสดงว่าฐานะหรือต้าแหน่งของ SBU เป็นผู้น้าในตลาดมีส่วน ครองตลาดสูง (high market share)แต่อยู่ในอุตสาหกรรมที่ขยายตัวต่้า หรือ อิ่มตัว แล้ว (low growth)โดยปกติ SBU ที่อยู่ในต้าแหน่งนี้จะมีลูกค้าขาประจ้า หรือ ลูกค้า ที่มีความภักดีต่อผลิตภัณฑ์ที่อยู่ในความรับผิดชอบของ SBU นี้ปริมาณมากยากที่ คู่แข่งขันจะแย่งชิงไปได้ ดังนั้นขึงท้าให้มียอดขายและก้าไรได้สูงอีกด้วย
3. เด็กมีปัญหา (Problem child) หรือ เครื่องหมายค้าถาม (question mark) แสดงว่า ฐานะหรือต้าแหน่งของ SBU ของบริษัทมีส่วนครองตลาดต่้า (low market share) เมื่อเทียบกับส่วนครองตลาดของคู่แข่งขัน แต่อยู่ในอุตสาหกรรมที่ก้าลังขยายตัวสูง (high growth) ดังนั้นบริษัทจ้าเป็นต้องใช้เงินมากเพื่อรักษาหรือเพิ่มส่วนครองตลาด ให้สูงขึ้น
4. สุนัขเผ้าบ้าน (dog) แสดงว่าฐานะหรือต้าแหน่งของ SBU ของบริษัทมียอดขาย จ้ากัดเพรามีส่วนครองตลาดต่้า (low market share) เมื่อเปรียบเทียบกับส่วนครอง ตลาดของคู่แข่งขัน และอยู่ในอุตสาหกรรมที่อิ่มตัวหรือลดลง(low growth) SBU จะ มีก้าไรต่้าหรือขาดทุน การลงทุนต่อไปไม่คุ้มค่า โอกาสก้าวหน้ามีน้อย

การวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส อุปสรรค (SWOT Analysis) ของ บริษัท เสริมสุข จำกัด (มหาชน) 
การวิเคราะห์จุดแข็ง (Strengths) 
1. Pepsi เป็นแบรนด์น้้าอัดลมที่มีมานาน เป็นที่จดจ้า และอยู่ในใจของผู้บริโภคมา อย่างยาวนาน 
2. Pepsi มีภาพลักษณ์ที่ชัดเจนในด้านของความทันสมัย ตอบสนองคนรุ่นใหม่ที่ ต้องการความสดชื่นให้กับชีวิต 63 
3. Pepsiใช้ผู้จัดจ้าหน่ายที่มีระบบการขนส่ง รวมถึงการกระจายสินค้าที่ดีและทั่วถึงใน ทุกระดับตลาด 
4. Pepsi มีหลาย (SKU) ทั้งขนาด Size และรสชาติ รวมถึงผลิตภัณฑ์ที่ปราศจาก น้้าตาลท้าให้สามารถเข้าถึงความต้องการของผู้บริโภคทุกกลุ่ม 
5. Pepsi ใช้การโฆษณาที่ World wide ที่ท้าให้เพิ่มการรับรู้ (Perception) การเข้าถึง และจูงใจให้ผู้บริโภค โดยการเลือกใช้พรีเซนเตอร์ที่มีชื่อเสียงในโฆษณาของบริษัทฯ เช่น นักฟุตบอลที่มีชื่อเสียงระดับโลก นักร้องชื่อดังของแต่ละประเทศ เป็นต้น 
6. Pepsi มีการน้าเสนอผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มครบวงจรในรูปแบบบรรจุภัณฑ์ที่ หลากหลายยิ่งขึ้นและในราคาที่เหมาะสมอีกทั้งมัดใจผู้บริโภคด้วยผลิตภัณฑ์ที่มี คุณภาพและคุ้มค่าเงิน 

การวิเคราะห์จุดอ่อน (Weaknesses) 
1. ผลิตภัณฑ์มีความอ่อนไหวต่อสภาพภูมิอากาศซึ่งอาจก่อให้เกิดการเสียหายของ สินค้าได้ง่าย 
2. สินค้าบาง SKU ในแบรนด์ Pepsi มีอายุในการจัดเก็บสั้น อาทิ Pepsi Max มีอายุ หลังบรรจุเพียง 4 เดือน 
3. ตราผลิตภัณฑ์ของ Pepsi มีหลากหลาย สามารถส่งผลให้ความเป็นเอกลักษณ์ เฉพาะตัว (Uniqueness) และ ความคลาสิก ของผลิตภัณฑ์ลดน้อยลง 
4. Pepsi ถือว่าเป็นน้้าอัดลม ซึ่งเป็นเครื่องดื่มที่ไม่มีคุณค่าทางสารอาหารที่มีประโยชน์ ต่อร่างกาย อาจท้าให้เป็นที่ต่อต้านของผู้บริโภคที่ใส่ใจในสุขภาพของตัวเองมาก 

การวิเคราะห์โอกาส (Opportunities) 
1. สินค้าเป็นลักษณะ low purchase involvement ซึ่งท้าให้สามารถซื้อขายได้ง่ายและ มีจ้าหน่ายใน ทุกๆ พื้นที่ทั่วประเทศ 
2. ในสภาวะภูมิอากาศเขตร้อน เช่น ประเทศไทยท้าให้น้้าอัดลมเป็นเครื่องดื่มดับ กระหายอันดับต้นๆ ของผู้บริโภค 
3. ผู้บริโภคนิยมสั่งน้้าอัดลมเพื่อรับประทานคู่กับอาหารซึ่งสามารถเข้ากันได้ดี เพื่อ เป็นการเพิ่มรสชาติให้กับอาหาร 64 

การวิเคราะห์อุปสรรค (Threats) 
1. ปัจจุบันในหลายๆ สื่อมักมีการชี้ให้เห็นโทษจากการดื่มน้้าอัดลมและโจมตีว่ามี ผลเสียต่อสุขภาพ จึงอาจท้าให้ค่านิยมของผู้บริโภคมีการเปลี่ยนแปลงไป 
2. เครื่องดื่ม Functional Soft drink เข้ารุกตลาดอย่างมาก และผู้บริโภคหันมาสนใจใน เรื่องสุขภาพมากขึ้นจึงหันไปดื่ม Functional Soft drink อาทิ ชาเขียว หรือ Water Plus ต่างๆแทนมากขึ้น 
3. การแข่งขันที่รุนแรงในอุตสาหกรรมน้้าอัดลม และ ผู้เล่นหน้าใหม่ในอุตสาหกรรม Non Carbonate Soft Drink ที่พยายามหาทุกช่องทางในแย่งส่วนแบ่งทางการตลาด ให้เพิ่มขึ้นจากเดิม 
4. ต้นทุนทางการผลิตที่เพิ่มขึ้นอันเนื่องมาจากความผันผวนของราคาวัตถุดิบ ส่งผล ต่อราคาของสินค้า แต่การที่ Pepsi จะปรับขึ้นราคานั้น จะส่งผลให้ความต้องการ ของผู้บริโภคลดลงหรืออาจท้าให้เกิดการเปลี่ยนไปบริโภคเครื่องดื่มชนิดอื่นแทนได้

วันพฤหัสบดีที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2558

Chapter 2 e-business infrastructure

 Chapter 2  e-business infrastructure

บทที่ 2 โครงสร้างพื้นฐานของธุรกิจ

ผลการเรียนรู้
 -เค้าโครงฮาร์ดแวร์และเทคโนโลยีซอฟแวร์ที่ใช้ในการสร้างโครงสร้างพื้นฐานทางธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ภายในองค์กรและกับคู่ค้าของตน
 -เค้าโครงข้อกำหนดฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ที่จำเป็นเพื่อให้สามารถเข้าถึงการทำงานของพนักงานต่อกับอินเทอร์เน็ตและโฮสติ้งของบริการ E-commerce

ปัญหาด้วยทั่วไป
1. การสื่อสาร Web เว็บไซต์ช้าเกินไป
2. เว็บไซต์ Web ไม่สามารถใช้ได้
3. Bugs บนเว็บไซต์ผ่านหน้าถูกใช้งานไม่ได้หรือข้อมูลที่พิมพ์ในรูปแบบที่ไม่ได้รับการดำเนินการ
    ผลิตภัณฑ์
4. Orderedไม่ได้ส่งมอบตรงเวลา
5. อีเมลไม่ได้ตอบความเป็นส่วนตัว
6. ลูกค้าหรือความไว้วางใจเสียผ่านปัญหาการรักษาความปลอดภัยเช่นบัตรเครดิตถูกขโมยหรือที่อยู่ขาย    ให้กับ บริษัท อื่น ๆ

โครงสร้างพื้นฐานของธุรกิจ




สถาปัตยกรรมของฮาร์ดแวร์ซอฟต์แวร์เนื้อหาและข้อมูลที่ใช้ในการให้บริการธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ให้กับพนักงานลูกค้าและคู่ค้า

เทคโนโลยีฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการสร้าง E-BUSINESS

อินเทอร์เน็ตคืออะไร? 



"อินเทอร์เน็ตบางครั้งเรียกว่า" สุทธิ "เป็นระบบที่ทั่วโลกของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ - เครือข่ายของเครข่ายที่ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ที่คนใดคนหนึ่งสามารถถ้าพวกเขาได้รับอนุญาตได้รับข้อมูลจากคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ





อินเทอร์เน็ต (อังกฤษ: Internet) หมายถึง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ ที่มีการเชื่อมต่อระหว่างเครือข่ายหลาย ๆ เครือข่ายทั่วโลก โดยใช้ภาษาที่ใช้สื่อสารกันระหว่างคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า โพรโทคอล(protocol) ผู้ใช้เครือข่ายนี้สามารถสื่อสารถึงกันได้ในหลาย ๆ ทาง อาทิ อีเมล เว็บบอร์ด และสามารถสืบค้นข้อมูลและข่าวสารต่าง ๆ รวมทั้งคัดลอกแฟ้มข้อมูลและโปรแกรมมาใช้ได้


ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตต่อประชากร 100 คน




ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตจำแนกตามภาษา





ภาษาบนเว็ปไซต์





ดัชนีของจำนวนของเซิร์ฟเวอร์





วันพุธที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2558

Chapter 1

Introduction to E-business and E-commerce

                    ปัจจุบัน มีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี การสื่อสารแบบไร้สาย ในองค์กรธุรกิจมานานมากกว่า 15 ปี มีการพัฒนาเว็บไซต์ขึ้นครั้งแรก โดย Sir Tim Berners-Lee ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1991 ซึ่งการปรับใช้ เทคโนโลยีเหล่านี้ ได้ สร้างโอกาส มากมาย ให้กับธุรกิจ


ผลกระทบของการสื่สารออนไลน์ที่มีต่อ
ธุรกิจแบบดั้งเดิม
  1. การเจริญเติบโตของ social networks
  2. rich media หรือ สื่อสมัยใหม่ ที่ประกอบไปด้วย vdo online และ interactine applications หรือการทำให้เรามีส่วนร่วมไปกับการนำเสนอสิ่งต่างๆผ่านอินเทอร์เน็ต
  3. การเจริญเติบโตของ mobile commerce เช่นการขายสินค้าผ่านระบบมือถือ
  4. location based การประยุคใช้เทคโนโลยี ดาวเทียม และ พิกัดพ๊อย
  5. โลกเสมือน (Virtual World) คือ การจำลองสภาพแวดล้อม ที่สามารถตอบสนองต่อการใช้งานของผู้ใช้หลายคน พร้อมๆ กัน ผ่านเครือข่ายออนไลน์
  6. location based services (LBS) ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีระบุตำแหน่งที่อยู่ใช้อุปกรณ์ไร้สายอย่างแม่นยำ เป็นการค้นหาสถานที่ เช่น คน สัตว์ สิ่งของ

ความแตกต่างระหว่าง e-commerce กับ e-business

                  พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic commerce) คือ การทำธุรกรรมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ในทุกช่องทางที่เป็นอิเล็กทรอนิกส์ เช่น การซื้อขายสินค้าและบริการ การโฆษณาผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ไม่ว่าจะเป็นโทรศัพท์ โทรทัศน์ วิทยุ หรือแม้แต่อินเทอร์เน็ต เป็นต้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อลดค่าใช้จ่าย และเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กร
                  e-Business นั้น คือ การดำเนินกิจกรรมทาง “ธุรกิจ”ต่างๆ ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์การใช้คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสารและอินเทอร์เน็ต เพื่อทำให้กระบวนการทางธุรกิจ มีประสิทธิภาพ และตอบสนองความต้องการของคู่ค้า และลูกค้าให้ตรงใจ และรวดเร็วและเพื่อลดต้นทุน และขยายโอกาสทางการค้า และการบริการ

ความแตกต่างระหว่างด้านซื้อและด้านขายของ e-Commerce

ความหมายของความสัมพันธ์ระหว่าง 
e-Commerce และ e-Business

                           เอ็กทราเน็ต คือ ระบบเครือข่ายซึ่งเชื่อมเครือข่ายของอินทราเน็ตเข้ากับระบบ
                              คอมพิวเตอร์ภายนอก หรือเชื่อมอินทราเน็ตกับอินทราเน็ตอีกที่หนึ่งเข้าด้วยกัน ลักษณะการทำงาน จะเหมือนกันอินทราเน็ตแต่ว่าเชื่อมแต่ละที่ให้เข้าหากัน เพื่อจุดประสงค์การทำงานที่เพิ่มขึ้น
                    อินเตอร์เน็ต คือ เครือข่ายขนาดใหญ่ที่เชื่อมต่อระบบต่างๆ จากทั่วมุมโลกเข้าด้วยกันไม่ ว่าจะเป็นสถาบันการศึกษา องค์กร หน่วยงานทั้งงานราชการและเอกชน ซึ่งมีข้อมูลมากมายท๊๋สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้